บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2019

เหล็ก กับการใช้ประโยชน์ในวงการต่าง ๆ นอกจากก่อสร้าง

รูปภาพ
ประเทศไทยมีบริษัทผลิตเหล็กอยู่หลากหลายเจ้า โดยรายใหญ่ของประเทศรายหนึ่งคือ มิลล์คอน สตีล ก่อตั้งโดยคุณ สิทธิชัย ลีสวัสดิ์ตระกูล ซึ่งเป็บริษัทที่ผลิตเหล็กอย่างครบวงจร เพราะหลายที่นั้นมีการผลิตเพียงแค่ปลายน้ำเท่านั้น การผลิตเหล็กจากปลายน้ำ ความหมายที่หลายคนอาจไม่เข้าใจ การผลิตเหล็กจากปลายน้ำคือการนำเหล็กมีรีไซเคิลใหม่ ด้วยการนำมาหลอมในเตา IF หรือเตา EF เพื่อให้เกิดเหล็กที่มีคุณภาพที่ดีขึ้น แร่เหล็กที่ถลุงนั้นสามารถใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง แร่เหล็กบนโลกกว่า 98% มีการใช้ในเชิงอุตสาหกรรมโดยใช้ประโญชน์จากแร่เหล็กจะถูกใช้งานแตกต่างกันออกไป โดยจะมีการใช้หลักๆ ดังนี้ 1. ใช้เป็นส่วนผสมของคอนกรีต 2. ใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการถลุงเหล็กในอุตสาหกรรมในการผลิตเหล็กหล่อ เหล็กเหนียว เหล็กกล้า 3. ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปูนซีเมนต์ และมีการแปรรูปก่อนนำแร่เหล็กไปเผากับหินปูนและหินดินดาน ทำให้เกิดกระบวนการทางเคมี 4. นำผงเหล็กมาทำแม่เหล็กหรือชิ้นส่วนรถยนต์ 5. เหล็กกัมมันตรังสี สามารถใช้ทางการแพทย์และวิจัยทางโลหกรรม 6. ผลิตไอเอิร์นออกไซต์สีต่าง ๆ ใช้ในการผลิตเครื่องสำอาง สีรถยนต์ สีย้อมผ้า

อุตสาหกรรมเหล็กกับประเทศไทย

รูปภาพ
การผลิตเหล็กในปัจจุบันของประเทศไทยส่วนใหญ่มักจะเริ่มการผลิตในส่วนของการผลิตชั้นกลาง หรือที่เรียกว่า EAF ซึ่งในประเทศไทยเอง มิลล์คอน สตีลภายใต้การก่อตั้งของคุณ สิทธิชัย ลีสวัสดิ์ตระกูล ซึ่งเป็นบริษัทเหล็กที่ผลิตด้วยกระบวนการนี้เช่นกัน ความสามารถของประเทศไทยกับการผลิตเหล็ก ประเทศไทยมีการผลิตเหล็กที่ไม่น้อยหน้าประเทศไหน เพราะมีการผลิตด้วยนวัตกรรมและเน้นคุณภาพไม่ต่างจากต่างประเทศเลยทีเดียว นวัตกรรมของเหล็กข้ออ้อยชนิดเกลียวอย่าง ONE BAR นวัตกรรมของเหล็กเส้นข้ออ้อยจากมิลล์คอน สตีล เป็นเหล็กเส้นที่มีการพัฒนาให้มีความแข็งแร่งมากกว่าเดิม โดยสามารถต่อเหล็กได้ตลอดทั้งเส้น และเสริมความแจ็งแรงให้กับจุดที่ใช้เชื่อมต่อเหล็กเส้น ส่งผลให้ช่วยลดต้นทุนและช่วยประหยัดเวลาในการทำงานด้วย เหล็ก ONE BAR เป็นเหล็กเส้นมาตรฐานมอก. 24 โดยแบ่งเป็น SD40 และ SD50 ที่มีการพัฒนาโครงกสร้างของเหล็กให้มีรูปร่างทรงเกลียว มีการพัฒนาโครงสร้างของเหล็กให้มีรูปร่างทรงเกลียว สามารถใส่ Coulpler ได้ทั้งเส้น เป็นการแก้ปัญหาในการต่อเหล็กแบบทาบที่มีความยุ่งยาก เป็นเหล็กเส้นที่เหมาะนำมาใช้งานก่อสร้างทั่วไป และงานคอนกรี

เหตุผลที่จะต้องใช้เหล็ก มอก.

รูปภาพ
หลากหลายกิจการรวมถึงบ้านเรือนที่อยู่อาศัยต่างก็ต้องการใช้เหล็กที่มีคุณภาพ และภาครัฐก็มีการผลักดันให้ใช้เหล็กคุณภาพเช่นกัน เหมือนกับที่มิลล์คอน สตีล ภายใต้การก่อตั้งของคุณ สิทธิชัย ลีสวัสดิ์ตระกูล เป็นบริษัทเหล็กที่จำหน่ายเหล็กคุณภาพสูง และมี มอก. ที่เป็นเครื่องหมายที่การันตีคุณภาพกำกับเอาไว้ ความแตกต่างของเหล็กเต็มและเหล็กเบา หลายคนคงจะได้ยินคำว่าเหล็กเต็มเหล็กเบามาก่อน โดยมีคนจำนวนมากไม่รู้ว่าเหล็กเต็มเหล็กเบาแตกต่างกันอย่างไร  เราจึงต้องการอธิบายอย่างง่ายๆ โดยการกำหนดมาตรฐานของวิศวกรรมแห่งประเทศไทย เหล็กเต็มคือเหล็กที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางและน้ำหนักเป็นไปตามมาตรฐาน เหล็กเบาคือเหล็กที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางและมาตรฐานไม่เป็นไปตามที่กำหนด ซึ่งจะเบากว่า มีการตรวจสอบเหล็กเป็นอยู่แบบหลักๆ คือ 1. ตรวจสอบใบกำกับเหล็กที่แสดงที่เกี่ยวข้องกับเหล็ก เช่นขนาด ความยาว และจะสังเกตที่เนื้อของเหล็กเพื่อหาตัวอักษรเครื่องหมาย มอก. 2. ตรวจสอบด้วยวิธีการช่างเครื่องต้ดเหล็ก 1 เมตรและนำไปชั่ง ซึ่งถ้าได้ตามมาตรฐานน้ำหนักที่กำหนดก็จะถือว่าเป็นเหล็กเต็มเช่นกัน แล้วมอก. คืออะไร  เป็นเครื่องหมา

ปัญหาและปัจจัยด้านต่าง ๆ ที่งานก่อสร้างต้องเผชิญ

รูปภาพ
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการก่อสร้างอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นโครงการจากรัฐและเอกชน โครงการจากหมู่บ้าน หรือการปลูกบ้านทั่วไปจำเป็นต้องใช้วัตถุดิบจำนวนมาก เหล็กนั้นก็เป็นอีกกลุ่มสินค้าที่มีความต้องการใช้สูงมาก ผู้ค้าเหล็กในไทยที่มีมาตรฐานก็ต้องพร้อมที่จะส่งมอบเหล็กคุณภาพให้กับผู้บริโภค อย่างมิลล์คอน สตีล ก่อตั้งโดยคุณ สิทธิชัย ลีสวัสดิ์ตระกูล  ปัจจุบันการก่อสร้างมีหลายปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหา ไม่ใช่เพราะการเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพสูง หรือการมีผู้รับเหมาที่มีความรู้ความสามารถที่ทำให้การก่อสร้างราบรื่น แต่ความจริงต้องใช้ความรู้ความสามารถ การจัดการ ทักษะของผู้รับเหมาควบคู่ไปกับเจ้าของบ้าน ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในการก่อสร้าง 1. การจัดการเรื่องการเงิน ผู้รับเหมาหลายรายประสบปัญหาการจัดการด้านการเงิน โดยหลายครั้งที่เกิดปัญหาผู้รับเหมาทิ้งงานเพราะถ้าทำต่อไปก็จะเกิดการขาดทุน เพราะไม่มีการคำนวณค่าใช้จ่ายอย่างละเอียด โดยในปัจจุบันมีซอฟแวร์ที่ช่วยในการบริหารเรื่องต้นทุนในการก่อสร้างอย่าง BUILK.com ที่เป็นซอฟแวร์ที่ใช้ในการควบคุมต้นทุนในวงการก่อสร้างโดยเฉพาะ 2. การจัดการด้านออกแบบ